เขียนโดย Phra Niphatharo @ 11:30 1 ความคิดเห็น
🤜“การสร้างคำ ที่มีความหมายเท่าเดิม เป็นเรื่องยาก และยิ่งการแสดงบัญญัติที่ปราศจากอารมณ์ด้วยแล้ว ก็ยิ่งเป็นเรื่องยาก นัยเพราะ ความมีค่าต่างๆ กันไป เช่นนั้น , เพราะอักษรภาษา และสัญลักษณ์สำหรับภาษา อาณัติทั้งปวง ได้มีการกำหนดมุ่งความหมาย ต่อทางรุ่งเรือง ต่างแบบ ต่างอย่างกัน , เป็นวัตถุอนันตริยกรรม ไปต่างๆกันคือค่า ที่ว่า มีสัน ไม่มีคม ค่าที่ มีเขี้ยวเล็บ หรือไม่มีเขี้ยวเล็บ นั่น ก็ดี , แต่ทว่า ที่แท้ อย่างไรนั้น ก็คือ เรื่อง ‘อักษร หรืออักษรสมัย‘ ตามค่าชนิดนั้นๆ หรือตามจุดบ่อเกิด นั้นๆ ทั้งอักษรไทย เทศ ทั้งอักษรขอม หรือไม่ใช่อักษรขอม ไม่ได้สร้างมาเพื่อการแสดงภาษาบาลี ซึ่งว่าคือภาษา ที่มุ่งแถลงแต่ความบริสุทธิ์ของพระบัญญัติฉะนั้น จำจะต้องมาดู ตรงส่วน ที่ไม่ใช่ภาษาสื่ออารมณ์ ที่มิใช่ ภาษาจิต แบบ รามจิต หรือรามกิตติ จะมาอวดอ้างการเสกสรรวรรณนา ว่านี้ เป็นฉันทะ ให้ยกแสดงบัญญัติไปดั่งนี้ แล้ว , เรื่อง ก็อักษรตามชนิดภาษานั่นเอง ที่ทำให้การแตกแขนงได้เวิ้งว้าง หรือยุบยอบ ลงในทางอารมณ์ ทางบัญญัติ ที่กระเจิง หรือไม่ก็ไขว้เขวออกไปจรดแล้ว เป็นความโต้แย้ง เป็นความรบกวน ต่อกัน , ซึ่ง ก็คือ มักให้โต้แย้ง และปฏิเสธว่า ‘อักษรอริยกะ’ ของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรง ประทาน , แม้เช่นนั้น ก็ดี ก็ยังอาจนับว่าไม่คู่ควร ต่อการที่จะแถลงพระพุทธบัญญัติอันบริสุทธิ์ แห่งพระพุทธธรรม , แลย่อม มีแต่การกล่าวร้ายอยู่เสมอๆ ว่า พระบาลีเป็นบัญญัติภาษาที่ไม่มีอักษรด้วยทั้งๆ ที่ ตามเป็นจริง ฉะนั้น สมควร , มีดี และมีคุณทุกกาล สำหรับการจรดพระบาลี อันพึงควรว่ามีอักษรประจำภาษาพุทธกิจ มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ โน่นแล้ว , แต่จนบัดนี้ ความที่ซึ่ง ประณามบท ก็ยังไม่มีใคร ไม่พบที่ใดประณามบทถูกพระคาถา ที่ถูก ว่าพระบาลี ที่เป็นบัญญัติ ‘ได้มีอักษรสมัย’ ว่าไม่มี จนแล้วจนเรื่อง กระทั่งมี ก็ว่าไม่มี”🤛
แสดงความคิดเห็น
สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]
<< หน้าแรก
1 ความคิดเห็น:
🤜“การสร้างคำ ที่มีความหมายเท่าเดิม เป็นเรื่องยาก และยิ่งการแสดงบัญญัติที่ปราศจากอารมณ์ด้วยแล้ว ก็ยิ่งเป็นเรื่องยาก นัยเพราะ ความมีค่าต่างๆ กันไป เช่นนั้น , เพราะอักษรภาษา และสัญลักษณ์สำหรับภาษา อาณัติทั้งปวง ได้มีการกำหนดมุ่งความหมาย ต่อทางรุ่งเรือง ต่างแบบ ต่างอย่างกัน , เป็นวัตถุอนันตริยกรรม ไปต่างๆกัน
คือค่า ที่ว่า มีสัน ไม่มีคม ค่าที่ มีเขี้ยวเล็บ หรือไม่มีเขี้ยวเล็บ นั่น ก็ดี , แต่ทว่า ที่แท้ อย่างไรนั้น ก็คือ เรื่อง ‘อักษร หรืออักษรสมัย‘ ตามค่าชนิดนั้นๆ หรือตามจุดบ่อเกิด นั้นๆ ทั้งอักษรไทย เทศ ทั้งอักษรขอม หรือไม่ใช่อักษรขอม ไม่ได้สร้างมาเพื่อการแสดงภาษาบาลี ซึ่งว่าคือภาษา ที่มุ่งแถลงแต่ความบริสุทธิ์ของพระบัญญัติ
ฉะนั้น จำจะต้องมาดู ตรงส่วน ที่ไม่ใช่ภาษาสื่ออารมณ์ ที่มิใช่ ภาษาจิต แบบ รามจิต หรือรามกิตติ จะมาอวดอ้างการเสกสรรวรรณนา ว่านี้ เป็นฉันทะ ให้ยกแสดงบัญญัติไปดั่งนี้ แล้ว , เรื่อง ก็อักษรตามชนิดภาษานั่นเอง ที่ทำให้การแตกแขนงได้เวิ้งว้าง หรือยุบยอบ ลงในทางอารมณ์ ทางบัญญัติ ที่กระเจิง หรือไม่ก็ไขว้เขวออกไป
จรดแล้ว เป็นความโต้แย้ง เป็นความรบกวน ต่อกัน , ซึ่ง ก็คือ มักให้โต้แย้ง และปฏิเสธว่า ‘อักษรอริยกะ’ ของพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ทรง ประทาน , แม้เช่นนั้น ก็ดี ก็ยังอาจนับว่าไม่คู่ควร ต่อการที่จะแถลงพระพุทธบัญญัติอันบริสุทธิ์ แห่งพระพุทธธรรม , แลย่อม มีแต่การกล่าวร้ายอยู่เสมอๆ ว่า พระบาลีเป็นบัญญัติภาษาที่ไม่มีอักษร
ด้วยทั้งๆ ที่ ตามเป็นจริง ฉะนั้น สมควร , มีดี และมีคุณทุกกาล สำหรับการจรดพระบาลี อันพึงควรว่ามีอักษรประจำภาษาพุทธกิจ มาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๔ โน่นแล้ว , แต่จนบัดนี้ ความที่ซึ่ง ประณามบท ก็ยังไม่มีใคร ไม่พบที่ใดประณามบทถูกพระคาถา ที่ถูก ว่าพระบาลี ที่เป็นบัญญัติ ‘ได้มีอักษรสมัย’ ว่าไม่มี จนแล้วจนเรื่อง กระทั่งมี ก็ว่าไม่มี”🤛
แสดงความคิดเห็น
สมัครสมาชิก ส่งความคิดเห็น [Atom]
<< หน้าแรก